บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 4
วันจันทร์ ที่ 27 มกราคม พ.ศ.2563 เวลา 08:30-12:30 น.
เนื้อหาที่เรียน
การสอนเด็กปฐมวัยควรสอนเด็กโดยการเริ่มจากสิ่งของที่เป็นของจริงก่อน แล้วค่อนค่อยเป็นรูปภาพ หรือหรัสภาพต่างๆ
จัดกิจกรรมโดยจะออกแบบวิธีการให้สอดคล้องกับการเล่น
เทคนิคจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์
▸นิทาน
▸เกม
▸เพลง
▸คำคล้องจ้อง
▸ปริศนาคำทาย
▸บทบาทสมมุติ
สาระการเรียนรู้ทางคณิตศาสตร์ 6 สาระการเรียนรู้▸นิทาน
▸เกม
▸เพลง
▸คำคล้องจ้อง
▸ปริศนาคำทาย
▸บทบาทสมมุติ
🔶 สาระที่ 1 จำนวนและการดำเนินการ
การบอกอันดับที่ของสิ่งต่างๆ จะต้องกำหนดสิ่งเริ่มต้นให้เด็กก่อน แล้วจึงจะจัดอันดับ
การรวมตัวเป็นการนับจำนวนต่างๆ สองกลุ่ม ได้ผลรวมมากขึ้น
🔶สาระที่ 2 การวัด
การวัดความยาว ความสูง ของสิ่งต่างๆอาจใช้เครื่องมือวัดที่มีหน่วยไม่ใช่หน่วยมาตรฐาน เช่น การใช้นิ้ว มือ ฝามือ ศอก เชือก
การชั่งน้ำหนักของสิ่งต่างๆอาจใช้เครื่องมือวัดชั่งน้ำหนักที่มีหน่วยไม่ใช่มาตรฐาน เช่น มือ การทำคาน หนักกว่า เบากว่า หนักเท่ากัน เป็นคำที่ใช้ในการเปรียนเทียบน้ำหนักของสิ่งต่างๆ
🔶สาระที่ 3 เรขาคณิต
ข้างบน ข้างล่าง ข้างใน ข้างนอก ระหว่า ซ้าย ขวา ใกล้ ไกล เป็นคำที่บอกตำแหน่ง ทิศทาง
การจำแนกทรงของวงกลม ทรงสี่เหลี่ยม กรวย จะใช้วิธีพิจารณารูปร่าง
🔶สาระที่ 4 พีชคณิต
แบบรูปเป็นความสัมพันธ์ที่แสดงลักษณะสำคัญร่วมของชุด ของจำนวนรูปเรขาคณิตหรือสิ่งต่างๆ
🔶สาระที่ 5 การวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น
การเก็บรวบรวมข้อมูลอาจใช้วิธีสังเกตหรือสอบถาม นำเสนอเป็นรูปภาพหรือกราฟ
🔶สาระที่ 6 ทักษะและกระบวนการทางคณิต
มีความสามารถในการแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนำเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ทางคณิตศาสตร์
คำศัพท์ภาษาอังกฤษ
1.Learning สาระการเรียนรู้
2.Measuring การวัด
3.Geometry เรขาคณิต
4.Skills ทักษะ
5.Between ระหว่าง
ประเมิน
ประเมินตนเอง ตั้งใจฟังอาจารย์อธิบาย และตอบคำถาม
ประเมินอาจารย์ สอนเรื่องสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ว่ามีกี่สาระ และให้นักศึกษามีส่วนรวมในการตอบ
ประเมินเพื่อน พูดตอบโต้ ช่วยกันตอบคำถามของอาจารย์ และร้องเพลงอย่างสนุก
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น