วันอาทิตย์ที่ 26 มกราคม พ.ศ. 2563

บันทึกครั้งที่ 4

รูปภาพที่เกี่ยวข้อง
บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 4
วันจันทร์ ที่ 27 มกราคม พ.ศ.2563 เวลา 08:30-12:30 น.

เนื้อหาที่เรียน
        การสอนเด็กปฐมวัยควรสอนเด็กโดยการเริ่มจากสิ่งของที่เป็นของจริงก่อน แล้วค่อนค่อยเป็นรูปภาพ หรือหรัสภาพต่างๆ
       จัดกิจกรรมโดยจะออกแบบวิธีการให้สอดคล้องกับการเล่น

   เทคนิคจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์ 
      ▸นิทาน
      ▸เกม
      ▸เพลง
      ▸คำคล้องจ้อง
      ▸ปริศนาคำทาย
      ▸บทบาทสมมุติ
        สาระการเรียนรู้ทางคณิตศาสตร์ 6 สาระการเรียนรู้
          🔶 สาระที่ 1 จำนวนและการดำเนินการ 
                 การบอกอันดับที่ของสิ่งต่างๆ จะต้องกำหนดสิ่งเริ่มต้นให้เด็กก่อน แล้วจึงจะจัดอันดับ
                 การรวมตัวเป็นการนับจำนวนต่างๆ สองกลุ่ม ได้ผลรวมมากขึ้น
          🔶สาระที่ 2 การวัด
                การวัดความยาว ความสูง ของสิ่งต่างๆอาจใช้เครื่องมือวัดที่มีหน่วยไม่ใช่หน่วยมาตรฐาน เช่น การใช้นิ้ว มือ ฝามือ ศอก เชือก
                การชั่งน้ำหนักของสิ่งต่างๆอาจใช้เครื่องมือวัดชั่งน้ำหนักที่มีหน่วยไม่ใช่มาตรฐาน เช่น มือ การทำคาน  หนักกว่า เบากว่า หนักเท่ากัน เป็นคำที่ใช้ในการเปรียนเทียบน้ำหนักของสิ่งต่างๆ
          🔶สาระที่ 3 เรขาคณิต 
                ข้างบน ข้างล่าง ข้างใน ข้างนอก ระหว่า ซ้าย ขวา ใกล้ ไกล เป็นคำที่บอกตำแหน่ง ทิศทาง
                การจำแนกทรงของวงกลม ทรงสี่เหลี่ยม กรวย จะใช้วิธีพิจารณารูปร่าง
          🔶สาระที่ 4 พีชคณิต 
                แบบรูปเป็นความสัมพันธ์ที่แสดงลักษณะสำคัญร่วมของชุด ของจำนวนรูปเรขาคณิตหรือสิ่งต่างๆ
          🔶สาระที่ 5 การวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น
                 การเก็บรวบรวมข้อมูลอาจใช้วิธีสังเกตหรือสอบถาม นำเสนอเป็นรูปภาพหรือกราฟ
          🔶สาระที่ 6 ทักษะและกระบวนการทางคณิต
                 มีความสามารถในการแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนำเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ทางคณิตศาสตร์
คำศัพท์ภาษาอังกฤษ
             1.Learning         สาระการเรียนรู้
             2.Measuring       การวัด
             3.Geometry        เรขาคณิต
             4.Skills               ทักษะ
             5.Between          ระหว่าง
ประเมิน
        ประเมินตนเอง     ตั้งใจฟังอาจารย์อธิบาย และตอบคำถาม
        ประเมินอาจารย์    สอนเรื่องสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ว่ามีกี่สาระ และให้นักศึกษามีส่วนรวมในการตอบ      
        ประเมินเพื่อน       พูดตอบโต้ ช่วยกันตอบคำถามของอาจารย์ และร้องเพลงอย่างสนุก
           

วันอาทิตย์ที่ 19 มกราคม พ.ศ. 2563

บันทึกครั้งที่ 3

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 3
วันจันทร์ ที่ 20 มกราคม พ.ศ.2563 เวลา 08:30-12:30 น.

เนื้อหาที่เรียน
          การจัดการเรียนการสอน ต้องขึ้นอยู่กับลำดับอายุของผู้เรียน
          ขั้นที่ 1 ขั้นประสาทรับรู้และเคลื่อนไหว Sensori-Motor Stage แรกเกิด-2ปี ขั้นของประสาทสัมผัสทั้ง5 
        ขั้นที่ 2  ขั้นก่อนปฏิบัติการคิด  Preoperational Stage 2-7ปี 
                    ▸2-4ปี เป็นขั้นอนุรักษ์ เด็กจะเด่นเรื่องของภาษา พูดตามที่เห็น
                    ▸4-7ปี เป็นขั้นที่เด็กมีเหตุผลมากขึ้น

       ตัวกลางที่ทำให้เด็กมีความแตกต่างกัน
             ▸การอบรมเลี้ยงดูของพ่อแม่     
              ▸สิ่งแวดล้อม
              ▸ร่างการ ภาะของเด็ก
              ▸พื้นฐานของครอบครัว
              ▸ค่านิยม วัฒนธรรม
       ครูต้องคอยสนับสนุนให้ดีขึ้น ต้องทำให้เด็กเข้มแข็งและอยู่ใรมาตราฐานเดียวกัน ต้องจัดประสอบการณ์ให้สอดคล้องกับเด็ฏ โดยให้เด็กลงมือกระทำผ่านสัมผัสทั้ง5 เพื่อตัดสินใจตต่อตนเองและมีความสุข
       การประเมินเด็ก  ต้องได้เหฌนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของเด็ก เช่น เด็กสามรถเล่นเรื่อง อธิบาย เขียวาดได้มากขึ้น
  
       การทำงานของสมอง
              รับและซึมซับ  ผ่านการกระทำโดยมือเครื่องมือคือประสาทสัมผัสทั้ง5 ในบางครั้งอาจจะไปซ้อนกับความรู้เดิม และได้ปรับเปลี่ยนโครงสร้างทำให้เกิดการเรียนรู้ใหม่
             การที่เด็กลงมือทำจากประสาทสัมผัสทั้ง5 นั้นคือวิธีการหรือการเล่น

       คณิตศาสตร์
              เป็นเรื่องของความใกล้ตัวของเรามาก อย่าเช่น จังหวะของการเต็นของหัวใจ การหายใจ 
                 🔶🔷 อาจารย์ได้ให้กระดาษ 1 แผ่นเพื่อทำการคิดว่ากระดาษ1แผ่นมาสารถสอน เรื่องอะไรเกี่ยวคณิตศาสตร์ได้บ้าง 
 พับรูปนก
                 สอนเรื่องของ ▹ รูปทรง 3 มิติ เห็นนกทุกด้าน
                                       ▹ ปริมาตร สัดส่วน ในการวัด ตัดว่าต้องมีขนาดเท่าไหร่
                                       ▹ น้ำหนัก ขนาด ใช้ในการเปรียบเทียบกัน
                                       ▹ นับจำนวน นับจำนวนของตัวนก 
                                       ▹ นับวิธีการ ขั้นตอนการทำ
                                       ▹ เรียงขนาดของนก
            
คำศัพท์ภาาอังกฤษ
                          คณิตสาตร์      Mathematics
                          จำนวน            Number
                          สมอง ฺ             Brain
                          วิธีการ             Instrumentality
                          มาตราฐาน      Standard

ประเมิน
            ประเมินตนเอง      ตั้งใจฟังที่อาจารย์บกตัวอย่าง ตอบโต้ที่อาจาร์ถาม และคิดเรื่องของคณิตสาร์ว่าจะสอนอะไรให้เด็ก
            ประเมินเพื่อน       ตั้งใจและช่วยกับตอบ
            ประเมินอาจารย์    อธิบายเรื่องของการสอนคณิตศาสตร์ว่าสอนอะไรได้บ้าง และการทำงานของสมอง
       

วันอาทิตย์ที่ 12 มกราคม พ.ศ. 2563

บันทึกครั้งที่ 2

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 2
วันจันทร์ ที่ 13 มกราคม พ.ศ.2563 เวลา 08:30-12:30 น.


เนื้อหาที่เรียน
                       การเปลี่ยนแปลงในตัวเด็กนั้นเกิดจากการอบรมเลี้ยงดูจากพ่อแม่หรือการเปลี่ยนแปลงจากการปฏิสัมพันธ์จากสิ่งแวดล้อมโดยสิ่งแวดล้อม

 พัฒนาการ          
           นิยามของคำว่าพัฒนา
                   -คือความสามารถที่เด็กสามารถแสดงออกตามช่วงอายุ 
            ลักษณะของพัฒนาการ
                   -เป็นความสามารถที่เป็นขั้นลำดับและต่อเนื่อง
                   -เช่น คว่ำ คืบ คลาน นั่ง ยืน เดิน วิ่ง
การจัดประสบการณ์
         จำเป็นต้องส่งเสริมและตัดประสบการณ์โดยจะใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5 คือ ตา หู จมูก ลิ้น กา ยของเด็กได้ลงมือทำต่อวัตถุ เพื่อเลือกและตัดสินใจด้วยตนเองอย่างมีความสุขและสนุกสนาน เด็กจะได้เกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมหรื่อเกิดการเรียบนรู้ โดยทั้งหมดนี้คือ วิธีการให้เด็กเกิดการเรียนรู้และการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม

การทำงานของสมอง 
        จะเริ่มโดยใช้ประสาทสะมผัสทั้ง 5 และส่งไปยังสองมองเพื่อซึมซับข้อมูล โดยจะปรับเปลี่ยนโครงสร้างของมอง ทำให้เกิดการรู้ใหม่ออกมาใช้ นั่นคือการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมและเกิดการเรียนรู้

พัฒนาการด้สนสติปัญญาของเพียเจต์
         ขั้นที่ 1 ขั้นประสาทรับรู้และการเคลื่อนไหว Sensori-Motor Stage อายุ 0-2 ปี จะใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5 

       ขั้นที่ 2 ขั้นก่อนปฏิบัติการคิด Preoperational Stage  2-7 ปี แบ่งออกเป็นขั้นย่อยอีก 2 ขั้น 
             -ขั้นก่อนเกิดสังกัป (Preconceptual Thought) เป็นขั้นพัฒนาการของเด็กอายุ 2-4 ปี เป็นช่วงที่เด็กเริ่มมีเหตุผลเบื้องต้น      
             -ขั้นการคิดแบบญาณหยั่งรู้ นึกออกเองโดยไม่ใช้เหตุผล (Intuitive Thought) เป็นขั้นพัฒนาการของเด็ก อายุ 4-7 ปี ขั้นนี้เด็กจะเกิดความคิดรวบยอดเกี่ยวกับสิ่งต่างๆ  รู้จักแยกประเภทและแยกชิ้นส่วนของวัตถุ เข้าใจความหมายของจำนวนเลข 

        ขั้นที่ 3 ขั้นปฏิบัติการคิดด้านรูปธรรม (Concrete Operation Stage) ขั้นนี้จะเริ่มจากอายุ 7-11 ปี พัฒนาการทางด้านสติปัญญาและความคิดของเด็กวัยนี้สามารถสร้างกฎเกณฑ์และตั้งเกณฑ์ในการแบ่งสิ่งแวดล้อมออกเป็นหมวดหมู่ได้

       ขั้นที่ 4  ขั้นปฏิบัติการคิดด้วยนามธรรม (Formal Operational Stage) นี้จะเริ่มจากอายุ 11-15 ปี ในขั้นนี้พัฒนาการทางสติปัญญาและความคิดของเด็กวัยนี้เป็นขั้นสุดยอด คือเด็กในวัยนี้จะเริ่มคิดแบบผู้ใหญ่ ความคิดแบบเด็กจะสิ้นสุดลง

คำศัพท์ภาษาอังกฤษ

                 1. absorb                    ซึมซับ
                 2. assimilation            การซึมซับ
                 3. accommdation       การปรับเปลี่ยนและจัดระบบ
                 4. Behavior change การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
                 5. Parenting การอบรมเลี้ยงดู
                 
ประเมิน
        ประเมินตนเอง  ตั้งใจฟังที่อ่านสอนสอนและ ถามในสิ่งที่ไม่เข้าใจ
        ประเมินอาจารย์ อธิบายเกี่ยวกับการพัฒนาการของเด็ก
        ประเมินเพื่อน    ตั้งใจฟังอาจารย์และมีการตอบโต้พูดคุยกับอาจารย์ 

วันอาทิตย์ที่ 5 มกราคม พ.ศ. 2563

บันทึกครั้งที่1

บันทึกครั้งที่1

รูปภาพที่เกี่ยวข้อง
บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 1
วันจันทร์ ที่ 6 มกราคม พ.ศ. 2563  เวลา 08:30-12:30 น.


เนื้อหาที่เรียน
                     วันนี้เป็นการเรียนการสอนวันแรกของวิชาการจัดประสบการณ์คณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย โดยอาจารย์ได้บอกเทคนิคการทำบล็อกเพื่อใช้เป็นแฟ้มสะสมผลงานของตนเอง ว่าจำเป็นต้องมีองค์ประกอบอะไรบ้าง และอาจารย์ได้มอบหมายงาน
                      1.งานวิจัยเกี่ยวกับคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
                      2.บทความเกี่ยวกับคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
                      3.งานโทรทัศน์ครู

คำศัพท์ภาษาอังกฤษ

            1.  Learning            การเรียนรู้
            2.  Thinking            การคิด
            3.  The decision      การตัดสินใจ
            4.  Judgment           วิจารณญาณ
            5.  Rate                   ประเมิน
            6.  Present               นำเสนอ
                
ประเมิน
           ประเมินตนเอง : ตั้งใจฟังที่อาจารย์มอบหมายงานและบอกองค์ประกอบในการทำบล็อก
           ประเมินเพื่อน  : ตั้งใจฟังอาจารย์และให้ความร่วมมือในการตอบคำถาม
           ประเมินอาจาร์ผู้สอน : พูดอธิบายวิธีการทำบล็อกและองค์ประกอบต่างๆ